ตลาดแท็ปเล็ตโลกโต 1.9% ไตรมาส 3 ปีนี้ Apple ยังเป็นผู้นำ Samsung, Huawei ร่วง

ตลาดแท็ปเล็ตโลกโต 1.9% ไตรมาส 3 ปีนี้ Apple ยังเป็นผู้นำ Samsung, Huawei ร่วง

ต้องยอมรับในช่วงปีที่ผ่านมา ตลาดแท็ปเล็ตโลกมีสัญญาณการเจริญเติบโตไปในทิศทางที่ค่อนข้างดี. โดยรายงานล่าสุดจอดองค์กรจัดสรรข้อมูล Internation Data Corporation หรือ IDC ได้มีการเปิดเผยข้อมูลสถิติยอดขายและการเจริญเติบโตในช่วงไตรมาสที่ 3 ปี 2019 ของ 5 ผู้นำในอุตสหกรรมแท็ปเล็ตโลกที่โดยรวมมีการเจริญเติบโตขึ้ถึง 1.9%. ซึ่ง 5 ผู้ทำในอุสาหกรรมแท็ปเล็ตโลกในตอนนี้ก็ได้แก่ 1. Apple, 2. Amazon, 3. Samsung, 4.Huawei และ 5. Lenovo.

โดยผู้นำอย่าง Apple ในไตรมาสที่สามของปี 2019 

ทำยอกจำหน่ายไปถึง 11.8 ล้านยูนิต จากไตรมาสเดียวกันในปีที่แล้วที่ทำไปได้เพียง 9.7 ล้าน.​ ขณะที่ Market Share หรือส่วนแบ่งการตลาดในไตรมาสนี้อยู่ที่ 31.4% เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วในไตรมาสเดียวกันที่ 26.3% เท่านั้น.

Amazon ที่รั้งอันกับสองในไตรมาสที่สามปี 2019 นี้ทำยอดไปได้ถึง 5.5 ล้านยูนิต ขณะที่ปีที่แล้วในไตรมาสเดียวกันทำได้เพียง 4.4 ล้านยูนิต.  Market Share เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 11.8% เป็น 14.5%. ส่วนอันดับที่สามอย่าง Samsung ในไตรมาสที่สามในปีนี้ทำได้ไม่ค่อยดีนัก ตกจากไตรมาสเดียวกันในปีที่แล้วที่ทำไปถึง 5.4 ล้านยูนิต ปีนี้ทำได้เพียงแค่ 4.6 ล้านยูนิต และส่วนแบ่งการตลาดลดลงจาก 14.6% เหลือเพียง 12.3% ทำให้ภาพรวมรายปีของ Samsung ติดลบไปถึง 13.9%.

Huawei อันดับสี่ ค่อนข้างทรงตัว ลดลงมานิดหน่อยจากปีที่แล้วที่ 3.7 ล้านยูนิต ปีนี้อยู่ที่ 3.6 ล้านยูนิต ขณะที่ Market Share ก็ลดลงเชานกันจาก 10.2% มาอยู่ที่ 9.5% ภาพรวมรายปีติดลบไป 4.4% ขณะที่ Lenovo รั้งอันดับที่ 5 ทำไป 2.5 ล้านยูนิตในไตรมาสที่สามของปี 2019 สูงจากปีที่แล้วที่ทำไปได้ 2.3 ล้านยูนิต. ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้นจาก 6.3% เป็น 6.7%.

อย่างไรก็ตามทางการจีนได้ปฏิเสธข้อกล่าวหาดังกล่าว พร้อมกล่าวว่าข่าวทั้งหมดเป็น “ข่าวปลอม” ที่สื่อต่างชาติสร้างขึ้นมาเพื่อสาดโคลนใส่รัฐบาลจีน

ด้านโรงงานวิสตรอน ได้ส่งแถลงการถึงสำนักข่าว AFP ว่า พวกเขาทำตามข้อกฏหมายภายในประเทศอินเดีย พร้อมระบุว่าเหตุความรุนแรงครั้งนี้เกิดขึ้น จากกลุ่มคนภายนอกที่แฝงตัวเข้ามา เพื่อทำลายทรัพย์สินของบริษัท ซึ่งทาง AFP ระบุว่าในแถลงการไม่ได้ระบุถึงข้อเรียกร้องของคนงาน โดยทางโรงงานยืนยันว่าพวกเขาจะกลับมาเริ่มทำงานอีกครั้งได้ในเร็วๆนี้

ด้านทางการอินเดียออกมาประณามความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ และยืนยันว่าจะสอบสวนเหตุการณ์ครั้งนี้ เพื่อให้สถานการณ์สามารถคลี่คลายได้ ซึ่งทางการยืนยันว่าพวกเขาจะปกป้องสิทธิ์ของคนงาน

การเปลี่ยนแปลงไปสู่ผลตอบแทนที่มากกว่าเงินเดือน

การเกิดขึ้นตำแหน่งงานใหม่ๆ รวมถึงการที่ตำแหน่งงานเดิมต้องปรับเปลี่ยนไปกระแสของเทคโนโลยีออโตเมชั่นและเอไอ จึงเป็นเรื่องยากสำหรับองค์กรที่ต้องตามให้ทันกับความคาดหวังของพนักงานเกี่ยวกับผลตอบแทนและ market values. จากผลการสำรวจระดับโลกเกี่ยวกับเทรนด์ของพนักงานที่มีความสามารถซึ่งเมอร์เซอร์จัดทำขึ้นในปี 2562 พบว่า รูปแบบของการผลตอบแทนที่สำคัญสูงสุดอันดับหนึ่งคือ การให้ผลตอบแทนด้วยรูปแบบที่หลากหลายกว่าเดิม. ข่าวดีก็คือ สิ่งที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคลให้ความสำคัญอันดับต้นๆ ล้วนสะท้อนถึงสิ่งที่พนักงานต้องการ. โดยทั้งฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพนักงานต่างเห็นตรงกันว่า การมอบผลตอบแทนหรือสิ่งจูงใจแก่พนักงานที่มีความสามารถได้หลากหลายมากขึ้น สามารถสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นได้. เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางของธุรกิจได้อย่างแท้จริง การลงทุนในเรื่องของค่าตอบแทนควรสะท้อนถึงกลยุทธ์ที่องค์กรให้ความสำคัญ. โดยในหลายกรณี สามารถทำได้โดยการปรับเปลี่ยนจากวิธีการแบบเดิม มาสู่รูปแบบของผลตอบแทนที่ต่างออกไป เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับพนักงานที่มีความต้องการและการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม. บริษัทชั้นนำเริ่มมีการให้ความสำคัญในเรื่องของการให้ผลตอบแทนแก่พนักงานในภาพรวม โดยมีการให้ค่าตอบแทนที่มากกว่าเงินเดือน เช่น โอกาสเติบโตในอาชีพ การให้เงินพิเศษเพื่อเป็นแรงจูงใจ และการให้ผลตอบแทนพิเศษ.

นายภูนีต สวานี หุ้นส่วนอาวุโสและผู้อำนวยการธุรกิจCareer ในระดับภูมิภาคระหว่างประเทศ ของเมอร์เซอร์ กล่าวว่า “ผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และการเข้าสู่โลกยุคใหม่ของการทำงาน ทำให้บริษัทต่างๆ ต้องหันมาทบทวนแนวทางเพื่อให้สามารถรับมือกับอนาคตได้ ด้วยการออกแบบรูปแบบของการจ่ายผลตอบแทนที่คำนึงถึงความความต้องการของพนักงานเป็นหัวใจสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นการนำดิจิทัลมาใช้ในองค์กร การสร้างทักษะที่สำคัญและจำเป็นให้กับพนักงานเพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในอนาคต หรือแม้แต่การสร้างสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมการทำงานได้อย่างเหมาะสม. ตลอดจนการปรับเปลี่ยนแปลงวิธีการลงทุนขององค์กรในตัวพนักงาน เหล่านี้จะช่วยสร้างผลตอบแทนกลับคืนสู่ธุรกิจในอนาคตได้ดีและมีประสิทธิภาพยิ่งกว่าเดิม”.

เมอร์เซอร์คือบริษัทผู้ให้คำปรึกษาและเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาเพื่อช่วยให้องค์กรสามารถตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพ การเงินและอาชีพของบุคลากรที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เมอร์เซอร์มีพนักงานกว่า 25,000 คน ใน 44 ประเทศทั่วโลก. โดยบริษัทดำเนินธุรกิจในประเทศต่างๆ มากกว่า 130 ประเทศ.

ประเทศญี่ปุ่นถือเป็นประเทศที่เผชิญกับปัญหาอัตราเกิดต่ำ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญเคยคาดว่า จำนวนประนวนประชากรญี่ปุ่นน่าจะลดเหลือเพียงแค่ 53 ล้านคน ในช่วงศตวรรษนี้ ปัจจุบันญี่ปุ่นมีประชากรราวๆ 126 ล้านคน

สิ่งที่ควรมาพร้อมกับเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและเสรีภาพของสื่อ คือความรับผิดชอบต่อสังคม เช่นเดียวกับสื่อสังคมออนไลน์ที่ควรใช้อย่างมีสติและฉลาดเท่าทัน ไม่ใช่ใช้เพื่อทำร้ายผู้อื่นเหมือนที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการควบคุมอย่างเข้มงวด”  ปีเตอร์ ชาเนล อโกวากา รมต. กระทรวงสื่อสาร กล่าว

Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป